วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6 วันที่ 21 เดือนกันยายน พ.ศ.2557


บันทึกอนุทิน

วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

อาจรย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น

วันที่/เดือน/ปี วันที่ 21 เดือนกันยายน พ.ศ.2557

ครั้งที่ 6  เวลาเรียน 15.00-17.30 น. 

เวลาเข้าเรียน 15.00 น. เวลาเลิกเรียน 17.30 น.




ความรู้ที่ได้รับ




การนำไปใช้

1.สามารถเเยกประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ เช่น เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
2.สามารถนำการปฐมพยาบาลขั้นพื้นฐานเมื่อเด็กเกิดโรคลมชักไปใช้ได้ในชีวิตได้
3.รู้จักการสังเกตลักษณะของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

การประเมินการเรียนการสอน

  -ประเมินอาจารย์ อาจารย์สอนเนื้อหาเกี่ยวกับประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ อาจารย์ยกตัวอย่างให้นักศึกษาฟังกับเหตุการณ์ที่เคยพบเพื่อให้นักศึกษาได้เกิดการเรียนรู้ 
  -ประเมินตนเอง ตั้งใจฟังอาจารย์สอน แต่งกายเรียบร้อย  จดเนื้อหาที่ในเอกสารไม่มีลงในสมุดด้วย 
  -ประเมินเพื่อน เพื่อนๆบางคนเขาคุยกันบางไม่ค่อยฟังงอาจารย์ เเต่เพือนบางคนตั้งใจฟังอาจารย์ และมีเพื่อนๆเข้าห้องเรียนตรงเวลาด้วย









บันทึกอนุทินครั้งที่ 5 วันที่ 16 เดือนกันยายน 2557


บันทึกอนุทิน

วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

อาจรย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น

วันที่/เดือน/ปี วันที่ 16 เดือนกันยายน พ.ศ.2557

ครั้งที่ 5 เวลาเรียน 15.00-17.30 น.

เวลาเข้าเรียน 15.00 น. เวลาเลิกเรียน 17.30 น.


ความรู้ที่ได้รับ
การนำไปใช้

1.สามารถแยกประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษได้

2.รู้จักพฤติกรรมของเด็กที่ปัญญาเลิศ
3.รู้เเละเข้าใจสาเหตุของเด็กที่มีความบกพร่อง
4.รู้จักเทคนิคการรับมือกับเด็กปัญญาเลิศเเละเด็กที่มีความบกพร่อง

ประเมินการเรียนการสอน


 -ประเมินอาจารย์ อาจารย์อธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ พร้อมยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่อาจารย์เคยพบเคยให้ฟัง ทำให้นักศึกษาเข้าใจง่าย

   -ประเมินตนเอง  วันนี้ตั้งใจฟังอาจารย์สอน เข้าเรียนตรงต่อเวลา  บางครั้งคุยบาง อาจารย์สอนเนื้อเข้าใจง่ายเพราะอาจารย์ให้นักศึกษาสังเกตตนเอง
  -ประเมินเพื่อน เพื่อนๆตั้งฟังอาจารย์สอนมาก ไม่ค่อยกัน















บันทึกอนุทินครั้งที่ 4 วันที่ 9 เดือนกันยายน พ.ศ.2557


บันทึกอนุทิน

วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

อาจรย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น

วันที่/เดือน/ปี วันที่ 9 เดือนกันยายน พ.ศ.2557

ครั้งที่ 4  เวลาเรียน 15.00-17.30 น.

เวลาเข้าเรียน 15.00 น. เวลาเลิกเรียน 17.30 น.




ความรู้ทีได้รับ






การนำไปใช้


1.สามารถนำความรู้ที่เพื่อนนำเสนอไปช่วยเหลือเด็กได้ในอนาคต

2.รู้เเละเข้าใจถึงสาเหตุที่ทำให้เด็กเกิดความผิดปกติบกพร่องทางด้านร่างกายของเด็ก สามารถมีวิธีการรับมือกับเด็กได้  

ประเมินการเรียนการสอนครั้งที่ 4 



 -ประเมินอาจารย์ อาจารย์อธิบายเนื้อหาเพิ่มเติมให้ฟังเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจมากยิ่งขึ้น
 -ประเมินตนเอง  ดิฉันตั้งใจฟังเพลงนำเสนองาน ทำให้ดิฉันเข้าใจถึงความเด็กที่มีความบกพร่องทางด้านร่างกายมากยิ่งขึ้น และดิฉันได้ออกไปนำเสนองานด้วย
 -ประเมินเพื่อน   เพื่อนตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอ


บันทึกอนุทินครั้งที่ 3 วันที่ 2 เดือนกันยายน พ.ศ.2557



กิจกรรมศึกษาศาสตร์สัมพันธ์

วันนี้คณะศึกษาศาสตร์มีกิจกรม "ศึกษาศาสตร์สัมพันธ์" ประกอบด้วยเอกดังต่อไปนี้ เอกปฐมวัย เอกพละ เอกคณิตศาสตร์ เอกเทคโนโลยีสารสนเทศ ดิฉันได้เข้าร่วมกิจกรรมในเเต่ละซุ้ม  เพื่อจะไปจับฉลากรับรางวัล
กิจกรรมศึกษาศาสตร์สัมพันธ์ มีนิทรรศการดังนี้
1.นิทรรศการ:การคิดวิจารญาณ
2.นิทรรศการ:การคิดเป็นระบบ
3.นิทรรศการ:การคิดวิเคราะห์
4.นิทรรศการ:การสังเคราะห์
5.นิทรรศการ:การคิดสร้างสรรค์
6.นิทรรศการ:ผลงานการคิด

การนำไปใช้
1.สามารถนำมาพัฒนาตนเองในการเล่นเกมในซุ้มต่างๆ
2.สามารถนำเกมไปบูรณาการในการเรียนการสอนในอนาคตได้
3.สามารถนำแนวคิดของนักทฤษฎีมาบูรณานาการในเกมได้







วันศุกร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 2 วันที่ 26 เดือนสิงหาคม 2557


บันทึกอนุทิน

วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

อาจรย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น

วันที่/เดือน/ปี วันที่ 26 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2557

ครั้งที่ 2  เวลาเรียน 15.00-17.30 น.

เวลาเข้าเรียน 15.00 น. เวลาเลิกเรียน 17.30 น.





-อาจารย์สอนการเรื่องเด็กที่มีความต้องการพิเศษ Children with special need

ความรู้ที่ได้รับ




การนำไปใช้

1.สามารถรู้จักเเยกแยะเด็กปกติกับเด็กพิเศษได้
2.สามารถจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับความต้องการของเด็กแต่ละบุคคลคนได้
3.รู้จัเทคนิคในการจัดการสอน

ประเมินการเรียนการสอนครั้งที่ 2 

 -ประเมินอาจารย์ อาจารย์มีความพร้อมในการเรียนสอน อาจารย์มีเอกสารประกอบการเรียนการสอนมาให้นักศึกษา อาจารย์ยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่อาจารย์เคยมาให้นักศึกษาฟังเพื่อจะใหนักได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น

 -ประเมินตนเอง ดิฉันตั้งใจฟังอาจารย์พร้อมจำบันทึกลงในสมุด การเเต่งกายเรียบร้อย เข้าห้องเรียนตรงต่อเวลา 

 -ประเมินเพื่อน เพื่อนๆตั้งใจฟังอาจารย์สอนมากเลย พร้อมกับจดบันทึกลงในสมุดกันเป็นส่วนใหญ่ และเพื่อนๆก็มีข้อสงสัยถามอาจารย์กันด้วย 













บันทึกอนุทินครั้งที่ 1 วันที่ 19 เดือนกันยายน พ.ศ.2557


บันทึกอนุทิน

วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

อาจรย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น

วันที่/เดือน/ปี วันที่ 19 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2556

ครั้งที่ 1  เวลาเรียน 15.00-17.30 น.

เวลาเข้าเรียน 15.00 น. เวลาเลิกเรียน 17.30 น.


-อาจารย์แจก Course Syllabus พร้อมอาธิบายรายวิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ เพื่อให้นักศึกษาได้แผนการเรียนการสอนของอาจารย์ในเเต่ละสัดปาห์

-อาจารย์ให้เพื่อนๆเเบ่งกลุ่มละ 7 คน และเเบ่งหัวข้อดังต่อไปนี้
    1.ซี.พี
    2.ดาว์นซินโดรม
    3.ออทิสติก(กลุ่มของดิฉัน)
    4.สมาธิสั้น
    5.แอดดี
    6.ปัญญาเลิศ

-อาจารย์บอกแนวการวัดและประเมินผลการเรียนการสอนของอาจารย์ให้นักศึกษาฟังโดยมีเกณฑ์ดังนี้
    1.คะเเนนระหว่างภาคเรียน 80 คะเเนน
      จิตพิสัย(การเข้าเรียน มีส่วนร่วมในห้องเรียน)    10 คะเเนน
      งานเดี่ยว                               10 คะเเนน
      งานกลุ่ม                                20 คะเเนน
      การบันทึกอนุทิน                           20 คะเเนน
      ทดสอบระหว่างภาค                        20 คะเเนน
    2.คะเเนนสอบปลายภาค 20 คะเเนน
-อาจารย์บอกให้หา งานวิจัยเกี่ยวกับเด็กพิเศษ ห้ามซํ้ากับเพื่อนมา 1 วัจิย

การนำไปใช้
1.สามารถรู้จักพฤติกรรมของเด็กพิเศษได้                  
2.รู้จักเทคนิคการรับมือกับเด็กพิเศษในการไปสังเกตการสอนได้


ประเมินผลการเรียนครั้งที่่ 1

 -ประเมินอาจารย์ อาจารย์มีความพร้อมกับการเรียนสอน อาจารย์มีอุปกรณ์มาให้ในการทำกิจกิรรมในการเรียนด้วย 

 -ประเมินตนเอง ดิฉันดีใจมากในการเปิดเรียนครั้งเเรกที่ได้มาพบกับอาจารย์และเพื่อนๆในกลุ่มเรียน
อาจารย์ให้ทำงานกลุ่มดิฉันรู้สึกตื่นเต้นมาก เพราะจะได้พูดคุยกับเพื่อนในกลุ่มที่อาจารย์แบ่งให้ ได้เเลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันเเละกัน

 -ประเมินเพื่อน เพื่อนๆตั้งใจเรียนมากเลย แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงต่อเวลา 
  การทำงานกลุ่ม มีความสามัคคี ได้พูดกันในการทำงานกลุ่ม ช่วยเหลือกันในการทำงานกลุ่ม